ปัจจุบันในประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท
เมื่อต้องการจะศึกษาให้เข้าถึงความหมายของพระพุทธวจนะ
อันมีอยู่ในพระไตรปิฎกอย่างถูกต้องโดยไม่ผิดเพี้ยนนั้น จำต้องอาศัยคัมภีร์ อรรถกถา ฎีกา
แม้ในยุคสมัยของท่าน พระพุทธวจนะก็เป็นเรื่องที่เข้าใจยากอยู่แล้ว
ดังนั้นในยุคของท่าน จึงมีพระเถระผู้เข้าใจในพระพุทธวจนะ รวบรวมเอาปกิณณกเทศนา
มาร้อยกรองเป็นคำอธิบายที่เรียกว่า อรรถกถา เมื่อกาลผ่านไป
แม้คำอธิบายที่เรียกว่าอรรถกถานั้น ก็เป็นสิ่งที่ยากต่อความเข้าใจ
จึงมีพระเถระในยุคนั้นๆ ผู้มุ่งอนุเคราะห์ ปัจฉิมชนให้เข้าใจพระไตรปิฎกและอรรถกถาอย่างถูกต้อง ท่านได้อาศัยข้อความในพระไตรปิฎกและวินิจฉัยต่างๆ ทั้งที่เป็นศาสนวินิจฉัย และโลกวินิจฉัย
อันมีอยู่ในอรรถกถาต่างๆ แล้วรจนาคัมภีร์อธิบายสัททบัญญัติ และอัตถบัญญัติ ส่วนที่เข้าใจยาก
อันมีในอรรถกถาโดยให้ชื่อว่า ฎีกา
จึงมีพระเถระในยุคนั้นๆ ผู้มุ่งอนุเคราะห์ ปัจฉิมชนให้เข้าใจพระไตรปิฎกและอรรถกถาอย่างถูกต้อง ท่านได้อาศัยข้อความในพระไตรปิฎกและวินิจฉัยต่างๆ ทั้งที่เป็นศาสนวินิจฉัย และโลกวินิจฉัย
อันมีอยู่ในอรรถกถาต่างๆ แล้วรจนาคัมภีร์อธิบายสัททบัญญัติ และอัตถบัญญัติ ส่วนที่เข้าใจยาก
อันมีในอรรถกถาโดยให้ชื่อว่า ฎีกา
พระเถระผู้ได้รับยกย่องว่าเป็นพระฎีกาจารย์
นั้นมีหลายรูป เช่น พระ- อานันทเถระ พระวชิรพุทธิเถระ พระธัมมปาลเถระ เป็นต้น ในที่นี้กล่าวเฉพาะพระมหาเถระผู้มีนามว่า ธัมมปาละ พระเถระรูปนี้ท่านเกิดในตระกูลพราหมณ์
ที่เมืองกัญจิปุระทางภาคใต้ของประเทศอินเดีย กล่าวกันว่า ท่านมีความเชี่ยวชาญ
ในคัมภีร์ไตรเพท ตั้งแต่เยาว์วัย ต่อมาเพราะท่านต้องการเรียนพุทธมนต์ จึงเข้าบรรพชาอุปสมบทในพระพุทธศาสนา
แล้วเดินทางไปศึกษาพระไตรปิฎก และอรรถกถาที่วัดมหาวิหาร เมืองอนุราธะ ในสีหฬทวีป
จนปรากฏว่าท่านมีความแตกฉานในพระไตรปิฎกและอรรถกถาอย่างยิ่ง และ
ณ ที่นั้นเอง ท่านพบว่า พระพุทธโฆษมหา-เถระรจนาอภินวอรรถกถาไว้ยังไม่ครบทุกคัมภีร์ ดังนั้นท่านจึงรวบรวมวินิจฉัยต่างๆ ไว้ เมื่อท่านเดินทางกลับมาจำพรรษาอยู่ ณ วัดพทิรติตถะ ซึ่งเป็นอารามที่พระเจ้าธรรมาโศกราชให้สร้าง ถวายไว้ในพระพุทธศาสนา ที่เมืองนาคปัฏฏะ ห่างจากเมืองตันโช
ภาคใต้ของประเทศอินเดียไปทางตะวันออก ๓๕ ไมล์ เมื่อท่านมาอยู่ที่อารามนี้แล้วก็ได้เริ่มรจนาคัมภีร์อรรถกถา ฎีกา
ณ ที่นั้นเอง ท่านพบว่า พระพุทธโฆษมหา-เถระรจนาอภินวอรรถกถาไว้ยังไม่ครบทุกคัมภีร์ ดังนั้นท่านจึงรวบรวมวินิจฉัยต่างๆ ไว้ เมื่อท่านเดินทางกลับมาจำพรรษาอยู่ ณ วัดพทิรติตถะ ซึ่งเป็นอารามที่พระเจ้าธรรมาโศกราชให้สร้าง ถวายไว้ในพระพุทธศาสนา ที่เมืองนาคปัฏฏะ ห่างจากเมืองตันโช
ภาคใต้ของประเทศอินเดียไปทางตะวันออก ๓๕ ไมล์ เมื่อท่านมาอยู่ที่อารามนี้แล้วก็ได้เริ่มรจนาคัมภีร์อรรถกถา ฎีกา
ปัจจุบันนี้ พุทธศาสนิกชนผู้มีศรัทธาต้องการศึกษา
นวังคสัตถุสาสน์ให้เข้าใจแจ่มแจ้งกว้างขวางและลึกซึ้ง จำเป็นต้องอาศัยคัมภีร์ต่างๆ
ที่พระเถระผู้ประเสริฐได้รวบรวมปกิณณกเทศนาบ้าง ปาจริยวาทะบ้าง
อาจริยวาทะบ้าง ตลอดจนเกจิวาทะที่ควรรู้
ควรทราบ แล้วรจนาเป็นคัมภีร์อธิบายสุคตเทสนาไว้เป็นจำนวนมากมาย
นักปราชญ์ท่านจัดลำดับชั้นไว้ต่างๆ
กัน ตามความสำคัญของ แต่ละคัมภีร์ คือ
๑.พระไตรปิฎก หมายถึง
พระไตรปิฎกฉบับบาลี
๒.อรรถกถา หมายถึง
คัมภีร์ที่อธิบายพระไตรปิฎก
๓.มูลฎีกา, ฎีกา หมายถึงคัมภีร์ที่อธิบายอรรถกถา
๔.อนุฎีกา หมายถึง
คัมภีร์ที่อธิบายมูลฎีกา
๕.คันถันตระ หมายถึง
คัมภีร์ที่นอกจากพระไตรปิฎก อรรถกถา
มูลฎีกา, ฎีกา และอนุฎีกา
๖.คัณฐี หมายถึง
คัมภีร์ที่อธิบายข้อความที่ยากๆ
ซึ่งพระอรรถ-กถาจารย์ และพระฎีกาจารย์มิได้อธิบายไว้
๗.โยชนา หมายถึง คัมภีร์ที่แสดงความหมายของคำศัพท์และบอกวิธีการสัมพันธ์คำศัพท์ไว้
๘.สัททาวิเสส หมายถึง
คัมภีร์ที่แสดงถึงความเป็นมาของคำศัพท์ไว้ตามแนวแห่งนิรุกติศาสตร์
๙. คัมภีร์แปล หมายถึง คัมภีร์พระไตรปิฎกแปล เป็นต้น
ในหลักฐานชั้นอรรถกถามีปรากฏคำว่า ธรรมกาย
เป็นหลักฐานรวม ๒๘ แห่ง โดยหลักฐานภาษาบาลีค้นจากฉบับมหาจุฬาฯ ส่วนคำแปลเป็นไทย
ค้นจากหลักฐานฉบับมหามกุฎฯ ดังนี้
หลักฐานชั้นอรรถกถา
(ดูหลักฐานฉบับสมบูรณ์ที่ภาคผนวก หน้า ผ๑๖-ผ๘๘)
๑.สมนฺตปาสาทิกาย นาม
วินยปิฏกฏฺฐกถาย เวรญฺชกณฺฑวณฺณนา (ปาราชิกวณฺณนา)
ปฐโม ภาโค ฉบับมหาจุฬา ฯ ข้อ ๑ หน้า ๑๑๖ - ๑๑๗
ปฐโม ภาโค ฉบับมหาจุฬา ฯ ข้อ ๑ หน้า ๑๑๖ - ๑๑๗
(วินย.อ.สมนฺตปาสาทิกา เวรญฺชกณฺฑวณฺณนา
ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๑๑๖-๑๑๗)
อาห เจตฺถ:-
ภภคฺคราโค ภคฺคโทโส ภคฺคโมโห อนาสโว
ภคฺคสฺส ปาปกา
ธมฺมา ภควา เตน วุจฺจตีติ.
ภาคฺยวนฺตตาย จสฺส สตปุญฺญลกฺขณธรสฺส
รูปกายสมฺปตฺติ ทีปิตา โหติ, ภคฺคโทสตาย ธมฺมกายสมฺปตฺติ.
อนึ่ง ในตอนนี้ท่านกล่าวไว้ว่า
พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น
ทรงหักราคะได้แล้ว ทรงหักโทสะได้แล้ว
ทรงหักโมหะได้
แล้วหาอาสวะมิได้ ธรรมอันเป็นบาปทั้งหลาย พระองค์ก็ทรงหักเสียแล้ว เพราะเหตุนั้น
จึงเฉลิมพระนามว่า ภควา
แล้วหาอาสวะมิได้ ธรรมอันเป็นบาปทั้งหลาย พระองค์ก็ทรงหักเสียแล้ว เพราะเหตุนั้น
จึงเฉลิมพระนามว่า ภควา
ก็ความถึงพร้อมด้วยรูปกายของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ผู้ทรงบุญลักษณะนับร้อย
ย่อมเป็นอันท่านแสดงแล้ว ด้วยความที่พระองค์ทรงมีพระกายสมส่วน, ความถึงพร้อมด้วยพระธรรมกาย ย่อมเป็นอัน ท่านแสดงแล้วด้วยความที่พระองค์ทรงหักโทสะได้แล้ว.
ย่อมเป็นอันท่านแสดงแล้ว ด้วยความที่พระองค์ทรงมีพระกายสมส่วน, ความถึงพร้อมด้วยพระธรรมกาย ย่อมเป็นอัน ท่านแสดงแล้วด้วยความที่พระองค์ทรงหักโทสะได้แล้ว.
วิ.มหา.เวรัญชกัณฑวรรณนา เล่ม ๑
หน้า ๒๐๙
[ดูฎีกา ๓, วิสุทธิมรรคมหาฎีกา ๑, ซ้ำอรรถกถา ๖, ๒๔ วิสุทธิมรรค ๑]
๒.สุมงฺคลวิลาสินิยา นาม
ทีฆนิกายฏฺฐกถาย สีลขนฺธวคฺควณฺณนา (พฺรหมฺชาลสุตฺตวณฺณนา) ปฐโม ภาโค ฉบับมหาจุฬาฯ
ข้อ ๑ หน้า ๓๔
(ที.อ.สุมงฺคลวิลาสินี
พฺรหมฺชาลสุตฺตวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๓๔)
เอตฺตาวตา เจตฺถ เออวมฺเม สุตนฺติ วจเนน ยถาสุตํ ธมฺมํ เทเสนฺโต ภควโต ธมฺมกายํ ปจฺจกฺขํ
กโรติ. เตน นยิทํ อติกฺกนฺตสตฺถุกํ ปาวจนํ, อยํ โว สตฺถาติ สตฺถุ อทสฺสเนน
อุกฺกณฺฐิตํ ชนํ สมสฺสาเสติ. เอกํ สมยํ ภควาติ วจเนน ตสฺมึ สมเย ภควโต
อวิชฺชมานภาวํ ทสฺเสนฺโต รูปกายปรินิพพานํ
สาเธติ.
ท่านพระอานนท์
เมื่อแสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ชื่อว่าย่อมกระทำพระธรรมกาย ของพระผู้มีพระภาคเจ้า
ให้ประจักษ์ ด้วยคำนั้น ท่านย่อมยังประชาชนผู้กระวนกระวายเพราะไม่ได้เห็นพระศาสดาให้เบาใจว่า ปาพจน์ คือพระธรรมวินัยนี้
มีพระศาสดาล่วงไปแล้ว หามิได้ พระธรรมกายนี้เป็นพระศาสดาของท่านทั้งหลาย ดังนี้
ด้วยคำว่า สมัยหนึ่ง
พระผู้มีพระภาคเจ้า ดังนี้ ท่านพระอานนท์ เมื่อแสดงว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าได้มีอยู่
ในสมัยนั้น ชื่อว่า ย่อมประกาศการเสด็จปรินิพพานแห่งพระรูปกาย
(ที.สี.อรรถกถาพรหมชาลสูตร เล่ม ๑๑
หน้า ๑๒๗)
๓.สุมงฺคลวิลาสินิยา นาม
ทีฆนิกายฏฺฐกถาย ปาฏิกวคฺควณณนา (อคฺคญฺญสุตฺตวณฺณนา) ตติโย ภาโค ฉบับมหาจุฬาฯ
ข้อ ๑๑๘ หน้า ๕๐
(ที.อ.สุมงฺคลวิลาสินี
อคฺคญฺญสุตฺตวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๕๐)
ตตฺถ ธธมฺมกาโย อิติปีติ กสฺมา
ตถาคโต ธมฺมกาโยติ วุตฺโต. ตถาคโต หิ เตปิฏกํ พุทฺธวจนํ หทเยน จินฺเตตฺวา วาจาย
อภินีหริ. เตนสฺส กาโย
ธมฺมมยตฺตา ธมฺโมว. อิติ ธมฺโม กาโย อสฺสาติ ธมฺมกาโย. ธมฺมกายตฺตาเอว พฺรหฺมกาโย.
ธมฺโม หิ เสฏฺฐฏฺเฐน พฺรหฺมาติ วุจฺจติ. ธมฺมภูโตติ ธมฺมสภาโว. ธมฺมภูตตฺตาเอว
พฺรหฺมภูโต
คำว่า ธมฺมกาโย อิติปิ ความว่า
เพราะเหตุไร พระตถาคตจึงได้รับขนานนามว่า ธรรมกาย เพราะพระตถาคต
ทรงคิดพระพุทธพจน์คือพระไตรปิฎกด้วยพระหทัยแล้ว ทรงนำออกแสดงด้วยพระวาจา ด้วยเหตุนั้น
พระวรกาย ของพระผู้มีพระภาคจึงจัดเป็นธรรมแท้เพราะสำเร็จด้วยธรรม
พระธรรมเป็นกายของพระผู้มีพระภาคนั้น ดังพรรณนามานี้ ฉะนั้น
พระผู้มีพระภาคจึงชื่อว่าธรรมกาย
ชื่อว่า พรหมกาย
เพราะมีธรรมเป็นกายนั่นเอง แท้จริง พระธรรมท่านเรียกว่าพรหมเพราะเป็นของประเสริฐ
บทว่า ธมฺมภูโต ได้แก่สภาวธรรม
ชื่อว่า พรหมภูต
เพราะเป็นผู้เกิดจากพระธรรมนั่นเอง
(ที.ปา.อรรถกถาอัคคัญญสูตร เล่ม ๑๕
หน้า ๑๗๖)
๔.สารตฺถปฺปกาสินิยา นาม
สํยุตฺตนิกายฏฺฐกถาย วกฺกลิ-สุตฺตวณฺณนา ทุติโย ภาโค ฉบับมหาจุฬาฯ ข้อ ๘๗ หน้า
๓๔๒-๓๔๓
(สํ.อ.สารัตถปฺปกาสินี
วกฺกลิสุตฺตวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๓๔๒-๓๔๓)
โย โข วกฺกลิ ธมฺมนฺติ อิธ
ภควา"ธมฺมกาโย โข มหาราช ตถาคโต"ติ วุตฺตํ ธมฺมกายตํ ทสฺเสติ.
นววิโธ หิ โลกุตฺตรธมฺโม ตถาคตสฺส กาโย นาม.
นววิโธ หิ โลกุตฺตรธมฺโม ตถาคตสฺส กาโย นาม.
ในบทว่า โย โข วกฺกลิ ธมฺมํ
นี้พึงทราบอธิบายว่า พระผู้มีพระ-ภาคเจ้าทรงแสดงพระธรรมกายที่ตรัสไว้ว่า
ขอถวายพระพรมหาบพิตร ธรรมกายแลคือพระตถาคต ความจริงโลกุตตรธรรม ๙ อย่าง (มรรค ๔ ผล
๔ นิพพาน ๑) ชื่อว่า พระกายของพระตถาคต [ความตอนนี้มีเชิงอรรถตอนท้ายว่า
สสงสัยจะเป็น พระนาคเสน เป็นผู้กล่าว)]
(สํ.ข.อรรถกถาวักกลิสูตร เล่ม ๒๗
หน้า ๒๘๓)
๕.สารตฺถปฺปกาสินิยา นาม สํยุตฺตนิกายฏฺฐกถาย
จกฺกวตฺติสุตฺตวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ
ข้อ ๒๒๔ หน้า ๒๒๒-๒๒๓
ข้อ ๒๒๔ หน้า ๒๒๒-๒๒๓
(สํ.อ.สารตฺถปฺปกาสินี
จกฺกวตฺติสุตฺตวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๒๒๒-๒๒๓)
สติสมฺโพชฺฌงฺครตนสฺสาติอาทีสุ
สริกฺขกตา เอวํ เวทิตพฺพา:- ยเถว หิ จกฺกวตฺติโน จกฺกรตนํ สพฺพรตนานํ ปุเรจรํ, เอวํ สติสมฺโพชฺฌงฺครตนํ สพฺเพสํ
จตุภูมิกธมฺมานํ ปุเรจรนฺติ ปุเรจรณฏฺเฐน จกฺกวตฺติรญฺโญ จกฺกรตนสทิสํ โหติ. จกฺกวตฺติโน จ รตเนสุ
มหากายูปปนฺนํ อจฺจุคฺคตํ วิปุลํ มหนฺตํ หตฺถิรตนํ,
อิทมฺปิ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺครตนํ มหนฺตํ ธมฺมกายูปปนฺนํ อจฺจุคฺคตํ วิปุลํ มหนฺตนฺติ หตฺถิรตนสทิสํ โหติ จกฺกวตฺติโน อสฺสรตนํ สีฆํ ลหุํ ชวํ, อิทมฺปิ วีริยสมฺโพชฺฌงฺครตนํ สีฆํ ลหุ ชวนฺติ อิมาย สีฆลหุชวตาย อสฺสรตนสทิสํ โหติ. จกฺกวตฺติโน มณิรตนํ อนฺธการํ วิธมติ, อาโลกํ ทสฺเสติ, อิทมฺปิ ปีติสมฺโพชฺฌงฺครตนํ ตาย เอกนฺตกุสลตฺตา กิเลสนฺธการํ วิธมติ, สหชาตปจฺจยาทิวเสน ญาณาโลกํ ทสฺเสตีติ อิมินา อนฺธการวิธมนอาโลกทสฺสนภาเวน มณิรตนสทิสํ โหติ.
อิทมฺปิ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺครตนํ มหนฺตํ ธมฺมกายูปปนฺนํ อจฺจุคฺคตํ วิปุลํ มหนฺตนฺติ หตฺถิรตนสทิสํ โหติ จกฺกวตฺติโน อสฺสรตนํ สีฆํ ลหุํ ชวํ, อิทมฺปิ วีริยสมฺโพชฺฌงฺครตนํ สีฆํ ลหุ ชวนฺติ อิมาย สีฆลหุชวตาย อสฺสรตนสทิสํ โหติ. จกฺกวตฺติโน มณิรตนํ อนฺธการํ วิธมติ, อาโลกํ ทสฺเสติ, อิทมฺปิ ปีติสมฺโพชฺฌงฺครตนํ ตาย เอกนฺตกุสลตฺตา กิเลสนฺธการํ วิธมติ, สหชาตปจฺจยาทิวเสน ญาณาโลกํ ทสฺเสตีติ อิมินา อนฺธการวิธมนอาโลกทสฺสนภาเวน มณิรตนสทิสํ โหติ.
ในบทว่า สติสมฺโพชฺฌงฺครตนสฺส
เป็นต้น พึงทราบแม้ความที่มีลักษณะคล้ายกันอย่างนี้ จักรแก้วของ พระเจ้าจักรพรรดิ
เที่ยวไปก่อนกว่ารัตนะทั้งปวง ฉันใด สติสัมโพชฌังครัตนะ
เที่ยวไปก่อนกว่าธรรมที่เป็นไป ในภูมิ ๔ ทั้งปวง ฉันนั้น
คือเปรียบด้วยจักรแก้วของพระเจ้าจักรพรรดิ เพราะอรรถว่าเที่ยวไปก่อน
บรรดารัตนะทั้งหลาย
ช้างแก้วของพระเจ้าจักรพรรดิเกิดร่างใหญ่ สูง ไพบูลย์ใหญ่ ธัมมวิจยสัมโพชฌังครัตนะ
เข้าถึงหมู่ธรรม [แปลไม่ตรงกับบทในบาลี ธมฺมกายูปปนฺนํ] เป็นอันมาก สูงแผ่ไป
กว้างใหญ่ ดังนั้น จึงเปรียบด้วยช้างแก้ว
กว้างใหญ่ ดังนั้น จึงเปรียบด้วยช้างแก้ว
ม้าแก้วของพระเจ้าจักรพรรดิมีฝีเท้าเร็ว วิริยสัมโพชฌังครัตนะ
แม้นี้มีกำลังฉับพลันดังนั้น จึงเปรียบด้วย ม้าแก้ว เหตุมีกำลังฉับพลันนี้
แก้วมณีของพระเจ้าจักรพรรดิ กำจัดความมืดให้สว่างได้ ปีติสัมโพชฌังครัตนะ แม้นี้อยู่ในหมู่ธรรมเป็น
อันมาก กำจัดความมืดคือกิเลสให้สว่างด้วยญาณ ด้วยอำนาจสหชาตปัจจัยเป็นต้น
กำจัดความมืด คือกิเลสให้ สว่างด้วยญาณ ด้วยอำนาจสหชาตปัจจัยเป็นต้น
เพราะเป็นกุศลโดยส่วนเดียว ดังนั้น
จึงเปรียบด้วยแก้วมณี เหตุกำจัดความมืดให้สว่างนี้
จึงเปรียบด้วยแก้วมณี เหตุกำจัดความมืดให้สว่างนี้
(สํ.มหา.อรรถกถาจักกวัตติสูตร เล่ม
๓๐ หน้า ๒๖๖)
๖.ปรมตฺถโชติกาย นาม
ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถาย ขุทฺทกปาฐ- วณฺณนา (มงฺคลสุตฺตวณฺณนา)
ฉบับมหาจุฬาฯ ข้อ ๑ หน้า ๙๕
ฉบับมหาจุฬาฯ ข้อ ๑ หน้า ๙๕
(ขุทฺทก.อ.ปรมตฺถโชติกา
มงฺคลสุตฺตวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๙๕)
ภคฺคราโค ภคฺคโทโส ภคฺคโมโห อนาสโว
ภคฺคสฺส ปาปกา
ธมฺมา ภควา เตน วุจฺจตีติ.
ภาคฺยวตาย จสฺส สตปุญฺญลกฺขณธรสฺส
รูปกายสมฺปตฺติ ทีปิตา โหติ,
ภคฺคโทสตายปิ ธมฺมกายสมฺปตฺติ.
ตถา โลกิยสริกฺขกานํ
พหุมตภาโว, คหฏฺฐปพฺพชิเตหิ อภิคมนียตา, อภิคตานฺจ เนสํ
กายจิตฺตทุกฺขาปนยเน ปฏิพลภาโว, ตถา
อามิสทานธมฺมทาเนหิ อุปการิตา, โลกิยโลกุตฺตรสุเขหิ จ
สํโยชนสมตฺถตา ทีปิตา โหติ.
[ข้อความคล้ายคลึงกับ
วิสุทฺธิมคฺคปกรณ พุทฺธานุสฺสติกถา ฉบับมหาจุฬาฯ เล่ม ๑ หน้า ๒๓๐]
ทรงหักราคะ หักโทสะ หักโมหะ
ไม่มีอาสวะ ทรงหักบาปธรรมได้แล้ว ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงเรียกว่า ภควา
ก็แล
ความถึงพร้อมแห่งพระรูปกายของพระองค์ ผู้ทรงไว้ซึ่งพระบุญลักษณะนับร้อย
เป็นอันท่านแสดง ด้วยความที่ทรงมีภาคยะคือบุญ ความถึงพร้อมแห่งพระธรรมกาย
เป็นอันท่านแสดงด้วยความที่ทรงหักโทสะ ได้แล้ว
(ขุ.ขุ.อรรถกถามงคลสูตร เล่ม ๓๙ หน้า
๑๔๙)
[ข้อความคล้ายคลึงกับ
ขุ.มหา.อรรถกถาติสสเมตเตยยสุตตนิทเทส เล่ม ๖๕ หน้า ๗๐๑ ]
๗.ปรมตฺถทีปนิยา นาม
ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถาย อุทานวณฺณนา (พาหิยสุตฺตวณฺณนา) ฉบับมหาจุฬาฯ ข้อ ๑๐ หน้า
๙๐-๙๑
(อุทาน.อ.ปรมตฺถทีปนี พาหิยสุตฺตวณฺณนา
ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๙๐) [ดูอรรถกถา ๑๕]
ปาสาทิกนฺติ
พตฺตึสมหาปุริสลกฺขณอสีติอนุพฺยญฺชนพฺยามปฺปภาเกตุมาลาลงฺกตาย สมนฺตปาสาทิกาย
อตฺตโน สรีรโสภาสมฺปตฺติยา
รูปกายทสฺสนพฺยาวฏสฺส ชนสฺส สพฺพภาคโต ปสาทาวหํ.
ปสาทนียนฺติ
ทสพลจตุเวสารชฺชฉอสาธารณญาณอฏฺฐารส
อาเวณิกพุทฺธธมฺมปฺปภุติอปริมาณคุณคณสมนฺนาคตาย ธมฺมกายสมฺปตฺติยา
สริกฺขกชนสฺส ปสาทนียํ ปสีทิตพฺพยุตฺตํ ปสาทารหํ วา.
[และหน้า ๙๑]
เอตฺถ จ ปาสาทิกนฺติ อิมินา รูปกาเยน
ภควโต ปมาณภูตตํ ทีเปติ, ปสาทนียนฺติ อิมินา ธมฺมกาเยน, สนฺตินฺทฺริยนฺติอาทินา เสเสหิ ปมาณภูตตํ ทีเปติ.
บทว่า ปาสาทิกํ ความว่า
นำมาซึ่งความเลื่อมใสรอบด้านแก่ชนผู้ขวนขวายในการเห็นพระรูปกาย
เพราะความสมบูรณ์ด้วยความงามแห่งสรีระของพระองค์ อันนำความเลื่อมใสมารอบด้าน
อันประดับด้วยมหาปุริสลักษณะ ๓๒ อนุพยัญชนะ ๘๐ พระรัศมีด้านละวา
และพระเกตุมาลารัศมีที่เปล่งเหนือพระเศียร
บทว่า ปสาทนียํ ความว่า
เป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใส เหมาะที่จะควรเลื่อมใส หรือควรแก่ความเลื่อมใส
ของคนผู้มีปัญญาเห็นประจักษ์
เพราะธรรมกายสมบัติอันประกอบด้วยจำนวนพระคุณหาประมาณมิได้ มีทศพลญาณ ๑๐
เวสารัชชญาณ ๔ อสาธารณญาณ ๖ อาเวณิย-พุทธธรรม ๑๘ เป็นต้น
(ขุ.อุ.อรรถกถาพาหิยสูตร เล่ม ๔๔
หน้า ๑๔๒)
[ข้อความตอนนี้คล้ายคลึงกับ
ขุ.วิ.อรรถกถารัชชุมาลาวิมาน เล่ม ๔๘ หน้า ๔๑๒ และ หน้า ๑๔๓] ความว่า
ก็ด้วยบทว่า ปาสาทิกํ นี้
ในอธิการนี้ ท่านแสดงถึงความสำคัญของพระผู้มีพระภาคเจ้าโดยรูปกาย
ด้วยบทว่า ปสาทนียํ นี้
แสดงถึงความสำคัญของพระผู้มีพระภาค-เจ้าโดยธรรมกาย
ด้วยบทมีอาทิว่า สนฺตินฺทฺริยํ นี้
แสดงถึงความสำคัญของพระคุณที่เหลือ
๘.ปรมตฺถทีปนิยา นาม ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถาย
อุทานวณฺณนา (โสณสุตฺตวณฺณนา)
ฉบับมหาจุฬาฯ ข้อ ๔๖ หน้า ๓๓๒-๓๓๓
(อุ.อ.ปรมตฺถทีปนี โสณสุตฺตวณฺณนา
ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๓๓๒-๓๓๓) [ดูฎีกา ๖]
เอทิโส จ เอทิโส จาติ เอวรูโป จ
เอวรูโป จ, เอวรูปาย
นามกายรูปกายสมฺปตฺติยา สมนฺนาคโต, เอวรูปาย
ธมฺมกายสมฺปตฺติยา สมนฺนาคโตติ
สุโตเยว เม โส ภควา. น โข เม โส ภควา สมฺมุขา ทิฏฺโฐติ เอเตน ปุถุชฺชนสทฺธาย เอวํ
อายสฺมา โสโณ ภควนฺตํ ทฏฺฐุกาโม อโหสิ. อปรภาเค ปน สตฺถารา สทฺธึ เอกคนฺธกุฏิยํ
วสิตฺวา ปจฺจูสสมยํ อชฺฌิฏฺโฐ โสฬสอฏฺฐกวคฺคิกานิ สตฺถุ สมฺมุขา อฏฺฐึ กตฺวา
มนสิกตฺวา สพฺพํ เจตโส สมนฺนาหริตฺวา อตฺถธมฺมปฺปฏิสํเวที หุตฺวา ภณนฺโต
ธมฺมูปสฺหิต ปา-โมชฺชาทิมุเขน สมาหิโต สรภญฺฺปริโยสาเน วิปสฺสนํ
ปฏฺฐเปตฺวา สงฺขาเร สมฺมสนฺโต อนุปุพฺเพน อรหตฺตํ ปาปุณิ. เอตทตฺถเมว หิสฺส
ภควตา อตฺตนา สทฺธึ เอกคนฺธกุฏิยํ วาโส อาณตฺโตติ วทนฺติ.
เกจิ ปนาหุ:-"น โข เม โส ภควา
สมฺมุขา ทิฏฺโฐ"ติ อิทํ รูปกาย ทสฺสนเมว สนฺธาย วุตฺตนฺติ. อายสฺมา หิ โสโณ
ปพฺพชิตฺวาว เถรสฺส สนฺติเก กมฺมฏฺฐานํ คเหตฺวา ฆเฏนฺโต วายมนฺโต อนุปสมฺปนฺโนว
โสตาปนฺโน หุตฺวา อุปสมฺปชฺชิตฺวา"อุปาสกาปิ โสตาปนฺนา โหนฺติ, อหมฺปิ โสตาปนฺโน, กิเมตฺถ จิตฺตนฺ”ติ อุปริมคฺคตฺถาย วิปสฺสนํ วฑฺเฒตฺวา อนฺโตวสฺเสเยว ฉฬภิฺยญฺ หุตฺวา วิสุทฺธิปวารณาย
ปวาเรสิ. อริยสจฺจทสฺสเนน หิ ภควโต
ธมฺมกาโย ทิฏโฐ นาม โหติ. วุตฺตภญฺหตํ:-
โย โข วกฺกลิ ธมฺมํ
ปสฺสติ, โส มํ ปสฺสติ.
โย มํ ปสฺสติ โส ธมฺมํ
ปสฺสตี"ติ
ตสฺมาสฺส ธมฺมกายทสฺสนํ ปเคว สิทฺธํ, ปวาเรตฺวา ปน รูปกายํ ทฏฺฐุกาโม
อโหสีติ.
บทว่า เอทิโส จ เอทิโส จ ความว่า
พระผู้มีพระภาคเจ้าเราได้ฟังมาว่า เห็นปานนี้ๆ คือทรงประกอบด้วย นามกายสมบัติ
และรูปกายสมบัติเห็นปานนี้ และประกอบด้วยธรรมกายสมบัติเห็นปานนี้ ด้วยคำว่า น โข
เม โส ภควา สมฺมุขา ทิฏฺโฐ นี้ อาจารย์ทั้งหลายหมายเอาความเป็นปุถุชนเท่านั้น
กล่าวว่าท่านโสณะได้มีความ ประสงค์จะเฝ้าพระศาสดา ก็ในกาลเป็นส่วนอื่นอีก
ท่านอยู่ในพระคันธกุฎีหลังเดียวกับพระศาสดาในเวลาใกล้รุ่ง พระศาสดาทรงเชื้อเชิญ
จึงทำไว้ในใจให้มีประโยชน์ถึงพระสูตร ๑๖ เป็นวรรค ๘ วรรคเฉพาะพระพักตร์พระ-ศาสดา
แล้วประมวลทั้งหมดมาด้วยใจทั้งหมด เป็นผู้รู้แจ้งอรรถและธรรม
เมื่อจะกล่าวเป็นผู้มีจิตเป็นสมาธิ โดยมุขคือความปราโมทย์อันเกิดแต่ธรรม
ในเวลาจบสรภัญญะ เริ่มตั้งวิปัสสนา พิจารณาสังขาร
บรรลุพระอรหัตโดยลำดับก็เพื่อประโยชน์นี้เท่านั้น
พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงสั่งให้เธอ อยู่ในพระคันธกุฎีเดียวกันกับพระองค์ ฝ่ายอาจารย์บางพวกกล่าวว่า คำว่าเรายังไม่ได้เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้า เฉพาะพระพักตร์แล ดังนี้ ท่านกล่าวหมายเอาเฉพาะการเห็นรูปกายเท่านั้น
พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงสั่งให้เธอ อยู่ในพระคันธกุฎีเดียวกันกับพระองค์ ฝ่ายอาจารย์บางพวกกล่าวว่า คำว่าเรายังไม่ได้เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้า เฉพาะพระพักตร์แล ดังนี้ ท่านกล่าวหมายเอาเฉพาะการเห็นรูปกายเท่านั้น
จริงอยู่
ท่านพระ-โสณะพอบวชแล้วก็เรียนกรรมฐานในสำนักของพระเถระ เพียรพยายามอยู่ ยังไม่ได้
อุปสมบทเลย ได้เป็นพระโสดาบัน ครั้นอุปสมบทแล้ว
คิดว่าแม้อุบาสกทั้งหลายก็เป็นพระโสดาบัน ทั้งเราก็เป็น พระโสดาบัน
ในข้อนี้จะคิดไปทำไมเล่า จึงเจริญวิปัสสนาเพื่อมรรคชั้นสูง
ได้อภิญญา ๖ ภายในพรรษานั้นเอง แล้วปวารณาด้วยวิสุทธิปวารณา ก็เพราะเห็น อริยสัจ
จึงเป็นอันชื่อว่าเธอได้เห็นธรรมกายของพระผู้มีพระภาคเจ้า สมจริงดังที่พระองค์ตรัสไว้ว่า
ได้อภิญญา ๖ ภายในพรรษานั้นเอง แล้วปวารณาด้วยวิสุทธิปวารณา ก็เพราะเห็น อริยสัจ
จึงเป็นอันชื่อว่าเธอได้เห็นธรรมกายของพระผู้มีพระภาคเจ้า สมจริงดังที่พระองค์ตรัสไว้ว่า
ดูก่อนวักกลิ ผู้ใดเห็นธรรม
ผู้นั้นชื่อว่าเห็นเรา ผู้ใดเห็นเรา ผู้นั้นชื่อว่าเห็นธรรม เพราะฉะนั้น
การเห็นธรรมกาย จึงสำเร็จแก่เธอก่อนทีเดียว ก็แล ครั้นปวารณาแล้ว เธอได้มีความประสงค์จะเห็น
รูปกาย
การเห็นธรรมกาย จึงสำเร็จแก่เธอก่อนทีเดียว ก็แล ครั้นปวารณาแล้ว เธอได้มีความประสงค์จะเห็น
รูปกาย
(ขุ.อุ.อรรถกถาโสณสูตร เล่ม ๔๔ หน้า
๕๕๗-๕๕๘)
๙.ปรมตฺถทีปนิยา นาม
ขุทฺทนิกายฏฺฐกถาย อิติวุตฺตกวณฺณนา (นิทานวณฺณนา) ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๑๓ (ตรงกับใน
ขุ.อิติ. อรรถกถาโลภสูตร เล่ม ๔๕ หน้า ๒๒) (ตรงกับใน ขุ.อิติ.อรรถกถาโลภสูตร เล่ม
๔๕ หน้า ๒๒)
(อิติ.อ.ปรมตฺถทีปนี นิทานวณฺณนา
ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๑๓)
เอตฺถ จ ภควตาติ อิมินาสฺส
ภาคฺยวนฺตตาทีปเนน กปฺปานํ อเนเกสุ อสงฺเขฺยยเยสุ อุปจิตปุญฺญาสมฺภารภาวโต
สตปุญฺญลกฺขณธรสฺส ทฺวตฺตึสมหาปุริสลกฺขณอสีติอนุพฺยญฺชนพฺยามปฺปภาเกตุมาลาทิปฏิมณฺฑิตา
อนญฺญสาธารณา รูปกายสมฺปตฺติ ทีปิตา โหติ. อรหตาติ อิมินาสฺส อนวเสสกิเลสปฺปหานทีปเนน
อาสวกฺขยปทฏฺฐาน-สพฺพญฺญุตญฺญาณาธิคมปริทีปนโต ทสพลจตุเวสารชฺชฉอสาธารณญาณอฏฺฐารสาเวณิก พุทฺธธมฺมาทิอจินฺเตยฺยาปริเมยฺยธมฺมกายสมฺปตฺติ
ทีปิตา โหติ.
อนึ่ง ในอธิการนี้พึงทราบวินิจฉัย
ดังต่อไปนี้ ด้วยบทว่า ภควตา นี้ ท่านแสดงถึงความถึงพร้อมด้วยพระรูปกาย
อันไม่สาธารณ์แก่บุคคลอื่น ประดับด้วยมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ อนุพยัญชนะ ๘๐
และพระเกตุมาลา มีรัศมีแผ่ไปได้ประมาณ ๑ วา ของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
ผู้ชื่อว่าทรงบุญลักษณะไว้ตั้ง ๑๐๐ เพราะทรงมี
บุญสมภารที่ทรงสั่งสมไว้หลายอสงไขยกัป
ด้วยการแสดงว่าพระองค์ทรงคายภาคย-ธรรมได้แล้ว
ด้วยบทว่า อรหตา นี้
ท่านแสดงถึงความถึงพร้อมด้วยพระธรรม-กายที่เป็นอจินไตย อาทิ พลญาณ ๑๐ เวสารัชชญาณ
๔ อสาธารณ-ญาณ ๖ และอาเวณิกพุทธธรรม (ธรรมเฉพาะพระพุทธเจ้า) ๑๘ เพราะแสดงการบรรลุ
สัพพัญญุตญาณมีการสิ้นอาสวะเป็นปทัฏฐาน โดยการแสดงการละกิเลสที่ไม่มีส่วนเหลือ
(ขุ.อิติ.อรรถกถาโลภสูตร เล่ม ๔๕
หน้า ๒๒)
๑๐.ปรมตฺถทีปนิยา นาม
ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถาย อิติวุตฺตกวณฺณนา (ปญฺจปุพฺพนิมิตฺตสุตฺตวณฺณนา) ฉบับมหาจุฬาฯ
ข้อ ๘๓ หน้า ๒๙๒-๒๙๓ (อรรถกถาจวมานสูตร)
(อิติ.อ.ปรมตฺถทีปนีปญฺจปุพฺพนิมิตฺตสุตฺตวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า
๒๙๒-๒๙๓)
ตถาคตปฺปเวทิเต ธมฺมวินเยติ ตถาคเตน
ภควตา เทสิเต
สิกฺขตฺตยสงฺคเห สาสเน. ตํ หิ ธมฺมโต อนเปตตฺตา ธมฺโม จ, อาสยานุรูปํ วิเนยฺยานํ วินยนโต วินโย
จาติ ธมฺมวินโย, อุปนิสฺสยสมฺปตฺติยา วา ธมฺมโต อนเปตตฺตา
ธมฺมํ อปฺปรชกฺขชาติกํ วิเนตีติ ธมฺมวินโย. ธมฺเมเนว วา วินโย, น ทณฺฑสตฺเถหีติ ธมฺมวินโย, ธมฺมยุตฺโต วา วินโยติ
ธมฺมวินโย, ธมฺมาย วา ยถา มคฺคผลนิพฺพานาย วินโยติ ธมฺมวินโย,
มหากรุณาสพฺพญฺญุตญฺญาณาทิธมฺมโต วา ปวตฺโต วินโยติ ธมฺมวินโย,
ธมฺโม วา ภควา ธมฺมภูโต ธมฺมกาโย ธมฺมสฺสามี, ตสฺส
ธมฺมสฺส วินโย, น ตกฺกิยานนฺติ) ธมฺมวินโย, ธมฺเม วา มคฺคผเล นิปฺผาเทตพฺพวิสยภูเต
วา ปวตฺโต วินโยติ ธมฺมวินโยติ วุจฺจติ. ตสฺมึ ธมฺมวินเย.
วา ปวตฺโต วินโยติ ธมฺมวินโยติ วุจฺจติ. ตสฺมึ ธมฺมวินเย.
บทว่า ตถาคตปฺปเวทิเต ธมฺมวินเย
ความว่า ในคำสอนที่สงเคราะห์ด้วยสิกขา ๓ ที่พระตถาคต
คือพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงแล้ว
คือพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงแล้ว
เพราะว่า คำสอนนั้น ท่านเรียกว่าธรรมวินัย
เพราะชื่อว่า ธรรม
เหตุที่ไม่ปราศไปจากธรรม และชื่อว่า วินัย เพราะฝึกเวไนยสัตว์
ตามสมควรแก่กิเลสที่นอนเนื่องอยู่ในใจ
อีกอย่างหนึ่ง ท่านเรียกว่า
ธรรมวินัย เพราะแนะนำผู้มีกำเนิดแห่งบุคคล ผู้มีนัยน์ตามีธุลีน้อย
ที่ชื่อว่าเป็น ธรรม เพราะไม่ปราศไปจากธรรม เหตุที่สมบูรณ์ไปด้วยอุปนิสัย
ที่ชื่อว่าเป็น ธรรม เพราะไม่ปราศไปจากธรรม เหตุที่สมบูรณ์ไปด้วยอุปนิสัย
อีกอย่างหนึ่ง ท่านเรียกว่า
ธรรมวินัย ฝึกด้วยธรรมอย่างเดียว ไม่ใช่ฝึกด้วยท่อนไม้และศาสตรา
อีกอย่างหนึ่ง ท่านเรียกว่า
ธรรมวินัย เพราะวินัย ประกอบด้วยธรรม
อีกอย่างหนึ่ง ท่านเรียกว่า
ธรรมวินัย เพราะนำเข้าไปหาธรรม เพื่อมรรคผล และนิพพานตามลำดับ
อีกอย่างหนึ่ง ท่านเรียกว่า
ธรรมวินัย เพราะเป็นเครื่องแนะนำที่เป็นไปแล้วโดยธรรม มีมหากรุณาและ
พระสัพพัญญุตญาณเป็นต้น
อีกอย่างหนึ่ง ท่านเรียกว่า
ธรรมวินัย เพราะพระธรรมเป็นเครื่องนำเข้าไปหาธรรมของพระผู้มีพระภาคเจ้า
ผู้เป็นองค์ธรรม ผู้เป็นธรรมกาย ผู้เป็นธรรมสวามี
ไม่ใช่นำเข้าไปหาธรรมของนักตรรกวิทยาทั้งหลาย
อีกอย่างหนึ่ง ท่านเรียกว่า
ธรรมวินัย เพราะเป็นเครื่องแนะนำที่เป็นไปแล้วในธรรม คือมรรคผลหรือ ในธรรม
อันเป็นวิสัยที่จะพึงให้สำเร็จ ในพระธรรมวินัยนั้น
(ขุ.อิติ.อรรถกถาจวมานสูตร เล่ม ๔๕
หน้า ๕๐๗-๕๐๘)
๑๑.ปรมตฺถทีปนิยา นาม
ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถาย อิติวุตฺตกวณฺณนา (อคฺคปฺปสาทสุตฺตวณฺณนา) ฉบับมหาจุฬาฯ ข้อ ๙๐
หน้า ๓๒๐-๓๒๑
(อิติ.อ.ปรมตฺถทีปนี
อคฺคปฺปสาทสุตฺตวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๓๒๐-๓๒๑)
ปุริมสฺมึ จ อตฺเถ อคฺคสทฺเทน
พุทฺธาทิรตนตฺตยํ วุจฺจติ. เตสุ ภควา ตาว อสทิสฏฺเฐน คุณวิสิฏฺฐฏฺเฐน อสมสมฏฺเฐน จ
อคฺโค. โส หิ มหาภินีหารํ ทสนฺนํ ปารมีนํ ปวิจยญฺจอาทึ กตฺวา เตหิ
โพธิสมฺภารคุเณหิ เจว พุทฺธคุเณหิ จ
เสสชเนหิ อสทิโสติ อสทิสฏฺเฐน อคฺโค. เย จสฺส คุณา มหากรุณาทโย, เต เสสสตฺตานํ คุเณหิ วิสิฏฺฐาติ
คุณวิสิฏฺฐฏฺเฐนปิ สพฺพสตฺตุตฺตมตาย อคฺโค. เย ปน ปุริมกา สมฺมาสมฺพุทฺธา
สพฺพสตฺเตหิ อสมา, เตหิ
สทฺธึ อยเมว รูปกายคุเณหิ เจว ธมฺมกายคุเณหิ จ อสมสมฏฺเฐนปิ อคฺโค.
อนึ่ง
ในความหมายอย่างก่อนพระผู้มีพระภาคเจ้า
ตรัสพระรัตน-ตรัยมีพระพุทธเจ้าเป็นต้นไว้ด้วย อคฺค ศัพท์
ในสัตว์โลกเหล่านั้น
พระผู้มีพระภาคเจ้า ชื่อว่าเป็นผู้ประเสริฐก่อน โดยความหมายว่าไม่มีผู้เปรียบ
โดยความหมายว่าเป็นผู้วิเศษด้วยคุณความดี และโดยความหมายว่าไม่มีผู้เสมอเหมือน
จริงอยู่ พระองค์ชื่อว่า เป็นผู้ล้ำเลิศโดยความหมายว่า ไม่มีผู้เปรียบ
เพราะทรงทำอภินิหารมามาก และการสั่งสมบารมี ๑๐ ประการ มาเป็นเบื้องต้น
จึงไม่เป็นเช่นกับคนทั้งหลายที่เหลือ เพราะพระคุณคือ
พระโพธิสมภารเหล่านั้น และเพราะพุทธคุณ ทั้งหลาย ชื่อว่าเป็นผู้ล้ำเลิศ เพราะเป็นผู้สูงสุดกว่าสรรพสัตว์ แม้โดยความหมายว่า เป็นผู้วิเศษด้วยคุณความดี เพราะพระองค์มีพระคุณมีพระมหากรุณาธิคุณเป็นต้น ที่วิเศษกว่าคุณทั้งหลายของสรรพสัตว์ที่เหลือ ชื่อว่า เป็นผู้ล้ำเลิศ แม้โดยความหมายว่า ไม่มีผู้เสมอเหมือน เพราะพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นี้เอง เป็นผู้เสมอโดยพระคุณทางรูปกาย
และพระคุณทางธรรมกายกับพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายในปางก่อน ผู้ไม่เสมอเหมือนกับสรรพสัตว์
พระโพธิสมภารเหล่านั้น และเพราะพุทธคุณ ทั้งหลาย ชื่อว่าเป็นผู้ล้ำเลิศ เพราะเป็นผู้สูงสุดกว่าสรรพสัตว์ แม้โดยความหมายว่า เป็นผู้วิเศษด้วยคุณความดี เพราะพระองค์มีพระคุณมีพระมหากรุณาธิคุณเป็นต้น ที่วิเศษกว่าคุณทั้งหลายของสรรพสัตว์ที่เหลือ ชื่อว่า เป็นผู้ล้ำเลิศ แม้โดยความหมายว่า ไม่มีผู้เสมอเหมือน เพราะพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นี้เอง เป็นผู้เสมอโดยพระคุณทางรูปกาย
และพระคุณทางธรรมกายกับพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายในปางก่อน ผู้ไม่เสมอเหมือนกับสรรพสัตว์
(ขุ.อิติ.อรรถกถาปสาทสูตร เล่ม ๔๕
หน้า ๕๕๙)
๑๒.ปรมตฺถทีปนิยา นาม
ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถาย อิติวุตฺตกวณฺณนา (อสงฺฆาฏิกณฺณสุตฺตวณฺณนา) ฉบับมหาจุฬาฯ ข้อ
๙๒ หน้า ๓๓๔
(อิติ.อ.ปรมตฺถทีปนี
สงฺฆาฏิกณฺณสุตฺตวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๓๓๔)
โส อารกาว มยฺหํ, อหญฺจตสฺสาติ โส ภิกฺขุ มยา
วุตฺตปฏิปทํ อปูเรนฺโต มม ทูเรเยว,
อหญฺจ ตสฺส ทูเรเยว. เอเตน มํสจกฺขุนา ตถาคตทสฺสนํ รูปกายสโมธานญฺจ
อการณํ, ญาณจกฺขุนาว ทสฺสนํ ธมฺมกายสโมธานเมว จ ปมาณนฺติ ทสฺเสติ.
เตเนวาห"ธมฺมํ หิ โส ภิกฺขเว ภิกฺขุ น ปสฺสติ, ธมฺมํ
อปสฺสนฺโต มํ น ปสฺสตี"ติ. ตตฺถ ธมฺโม นาม นววิโธ โลกุตฺตรธมฺโม, โส จ อภิชฺฌาทีหิ ทุสฺสิตจิตฺเตน น สกฺกา ปสฺสิตุํ, ตสฺมา
ธมฺมสฺส อทสฺสนโต ธมฺมกายํ จ น ปสฺสตี"ติ ตถา หิ วตฺตุํ:-
กินฺเต วกฺกลิ อิมินา ปูติกาเยน
ทิฏฺเฐน, โย โข วกฺกลิ ธมฺมํ ปสฺสติ, โส มํ
ปสฺสติ. โย มํ ปสฺสติ, โส ธมฺมํ ปสฺสตี"ติ.
[เชิงอรรถอ้าง สํ.ข.๑๗/๘๗/๙๖]
ธมฺมภูโต พฺรหฺมภูโต ติ จ [เชิงอรรถอ้าง
ม.มู.๑๒/๒๐๓/๑๗๑, ขุ.ปฏิ.๓๑/๕/๔๐๘]
ธมฺมกาโย อิติปิ, พฺรหฺมกาโย อิติปี ติ จ อาทิ
[เชิงอรรถอ้าง ที.ปา.๑๑/๑๑๘/๗๒]
บทว่า โส อารกาว มยฺหํ อหญฺจตสฺส
ความว่า ภิกษุนั้น เมื่อไม่บำเพ็ญปฏิปทาที่เราตถาคตกล่าวแล้วให้ บริบูรณ์
ก็ชื่อว่า เป็นผู้อยู่ไกลเราตถาคตทีเดียว เราตถาคต ก็ชื่อว่า อยู่ไกลเธอเหมือนกัน
ด้วยคำนี้ พระองค์ทรง แสดงว่า การเห็นพระตถาคตเจ้า ด้วยมังสจักษุก็ดี การอยู่รวมกันทางรูปกายก็ดี ไม่ใช่เหตุ (ของการอยู่ใกล้) แต่การเห็นด้วยญาณจักษุเท่านั้น และการรวมกันด้วยธรรมกายต่างหาก
เป็นประมาณ (ในเรื่องนี้) ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงได้ตรัสไว้ว่า
ด้วยคำนี้ พระองค์ทรง แสดงว่า การเห็นพระตถาคตเจ้า ด้วยมังสจักษุก็ดี การอยู่รวมกันทางรูปกายก็ดี ไม่ใช่เหตุ (ของการอยู่ใกล้) แต่การเห็นด้วยญาณจักษุเท่านั้น และการรวมกันด้วยธรรมกายต่างหาก
เป็นประมาณ (ในเรื่องนี้) ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงได้ตรัสไว้ว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
เพราะว่าภิกษุนั้นไม่เห็นธรรม เมื่อไม่เห็นธรรม ก็ไม่เห็นเราตถาคต
ในคำว่า ธมฺมํ น ปสฺสติ นั้น
มีอธิบายว่า โลกุตตรธรรม ๙ อย่าง ชื่อว่า ธรรม ก็เธอไม่อาจจะเห็น โลกุตตรธรรม
นั้นได้ ด้วยจิตที่ถูก
อภิชฌาเป็นต้นประทุษร้าย เพราะไม่เห็นธรรมนั้น เธอจึงชื่อว่า
ไม่เห็นธรรมกาย สมจริงตามที่ พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสไว้ว่า
ไม่เห็นธรรมกาย สมจริงตามที่ พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสไว้ว่า
ดูก่อนวักกลิ เธอจะมีประโยชน์อะไร
ด้วยกายอันเปื่อยเน่านี้ที่เธอได้เห็นแล้ว
ดูก่อนวักกลิ ผู้ใดแลเห็นธรรม
ผู้นั้น ก็เห็นเราตถาคต ผู้ใดเห็นเราตถาคต ผู้นั้น ก็เห็นธรรม ดังนี้ และว่า
เราตถาคตเป็นพระธรรม เราตถาคตเป็นพระพรหมดังนี้ และว่า เป็นธรรมกายบ้าง
เป็นพรหมกายบ้าง ดังนี้ เป็นต้น
(ขุ.อิติ.อรรถกถาสังฆาฏิสูตร เล่ม ๔๕
หน้า ๕๘๓)
๑๓.ปรมตฺถโชติกาย นาม
ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถาย สุตฺตนิปาตวณฺณนา (ธนิยสุตฺตวณฺณนา) ฉบับมหาจุฬาฯ ข้อ ๒๙ หน้า
๓๙
(สุตฺต.อ.ปรมตฺถโชติกา ธนิยสุตฺตวณฺณนา
ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๓๙)
อถ ธนิโย อเวจฺจปฺปสาทโยเคน ตถาคเต
มูลชาตาย ปติฏฺฐิตาย สทฺธาย ปญฺญาจกฺขุนา ภควโต ธมฺมกายํ ทิสฺวา
ธมฺมกายสญฺโจทิตหทโย จินฺเตสิ:-"พนฺธนานิ ฉินฺทึ, คพฺภเสยฺยา จ เม นตฺถี ติ อวีจึ
ปริยนฺตํ กตฺวา ยาว ภวคฺคา โก อญฺโญฺ เอวํ สีหนาทํ นทิสฺสติ อญฺญตฺร ภควตา,
อาคโต นุ โข เม สตฺถาติ.
[***ข้ามข้อความบางส่วน***]
ตตฺถ ยสฺมา ธนิโย สปุตฺตทาโร ภควโต
อริยมคฺคปฏิเวเธน ธมฺมกายํ ทิสฺวา
โลกุตฺตรจกฺขุนา รูปกายํ ทิสฺวา โลกิยจกฺขุนา สทฺธาปฏิลาภํ ลภิ, ตสฺมา อาห"ลาภา วต โน อนปฺปกา,
เย มยํ ภควนฺตํ อทฺทสามา
ติ.
ลำดับนั้น
นายธนิยะเห็นแล้วซึ่งธรรมกายของพระผู้มีพระภาคเจ้า ด้วยปัญญาจักษุ ด้วยศรัทธา
ซึ่งตั้งมั่นแล้ว อันเกิดขึ้นแล้วในพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นมูลด้วยความเลื่อมใสที่ไม่คลอนแคลน ผู้มีหทัยอัน ธรรมกายตักเตือนแล้ว คิดแล้วว่า นับตั้งแต่อเวจีเป็นที่สุด จนถึง ภวัครพรหม เว้นพระผู้มีพระภาคเจ้าเสีย คนอื่นใครเล่าจักบันลือสีหนาท ที่มีกำลังเช่นนี้ได้ พระศาสดาของเราเสด็จมาแล้วหนอ
ด้วยความดำริว่า เราตัดเครื่องผูกทั้งหลาย ได้แล้ว และการนอนในครรภ์ของเราไม่มี
ซึ่งตั้งมั่นแล้ว อันเกิดขึ้นแล้วในพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นมูลด้วยความเลื่อมใสที่ไม่คลอนแคลน ผู้มีหทัยอัน ธรรมกายตักเตือนแล้ว คิดแล้วว่า นับตั้งแต่อเวจีเป็นที่สุด จนถึง ภวัครพรหม เว้นพระผู้มีพระภาคเจ้าเสีย คนอื่นใครเล่าจักบันลือสีหนาท ที่มีกำลังเช่นนี้ได้ พระศาสดาของเราเสด็จมาแล้วหนอ
ด้วยความดำริว่า เราตัดเครื่องผูกทั้งหลาย ได้แล้ว และการนอนในครรภ์ของเราไม่มี
[***ข้ามข้อความบางส่วน***]
เพราะเหตุที่นายธนิยะพร้อมกับบุตรและภรรยาได้เห็นธรรมกายพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยโลกุตตรจักษุ
เพราะการแทงตลอดอริยมรรค เห็นรูปกายของพระองค์ด้วย
(ขุ.สุ.อรรถกถาธนิยสูตร เล่ม ๔๖ หน้า
๘๔-๘๕)
๑๔.ปรมตฺถโชติกาย นาม ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถาย
สุตฺตนิปาตวณฺณนา (อุปสีวสุตฺตวณฺณนา)
ฉบับมหาจุฬาฯ ข้อ ๑๐๘๐ หน้า ๔๔๓
ฉบับมหาจุฬาฯ ข้อ ๑๐๘๐ หน้า ๔๔๓
(สุตฺต.อ.ปรมตฺถทีปนี อุปสีวสุตฺตวณฺณนา
ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า) ๔๔๓
[๑๐๘๑] อถสฺส ภควา อุจฺเฉทสสฺสตํ อนุปคมฺม ตตฺถ อุปฺปนฺนสฺส อริยสาวกสฺส อนุปาทาย
ปรินิพฺพานํ ทสฺเสนฺโต"อจฺจี ยถา ติ คาถมหา. ตตฺถ อตฺถํ ปเลตีติ อตฺถํ
คจฺฉติ. น อุเปติ สงฺขนฺติ"อสุกํ นาม ทิสํ คโต ติ โวหารํ น คจฺฉติ. เอวํ มุนี
นามกายา วิมุตฺโตติ เอวํ ตตฺถ อุปฺปนฺโน เสกฺขมุนิ ปกติยา ปุพฺเพว
รูปกายา วิมุตฺโต ตตฺถ จตุตฺถมคฺคํ นิพฺพตฺเตตฺวา ธมฺมกายสฺส [มีเชิงอรรถว่า นามกายสฺส] ปริญฺญาตตฺตา ปุน นามกายาปิ วิมุตฺโต อุภโตภาควิมุตฺโต ขีณาสโว หุตฺวา อนุปาทาปรินิพฺพานสงฺขาตํ อตฺถํ ปเลติ น อุเปติ สงฺขํ"ขตฺติโย วา พฺราหฺมโณ วา ติ เอวมาทิกํ.
รูปกายา วิมุตฺโต ตตฺถ จตุตฺถมคฺคํ นิพฺพตฺเตตฺวา ธมฺมกายสฺส [มีเชิงอรรถว่า นามกายสฺส] ปริญฺญาตตฺตา ปุน นามกายาปิ วิมุตฺโต อุภโตภาควิมุตฺโต ขีณาสโว หุตฺวา อนุปาทาปรินิพฺพานสงฺขาตํ อตฺถํ ปเลติ น อุเปติ สงฺขํ"ขตฺติโย วา พฺราหฺมโณ วา ติ เอวมาทิกํ.
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะทรงแสดงถึงการปรินิพพาน
เพราะไม่ยึดมั่นของพระอริยสาวกผู้เกิด แล้วในอากิญจัญญายตนภพ นั้นว่า
ไม่เข้าไปอาศัยอุจเฉททิฏฐิ และสัสสตทิฏฐิ แก่อุปสีวมาณพนั้น จึงตรัสคาถา ว่า อจฺจิ
ยถา เหมือนเปลวไฟ ดังนี้เป็นต้น
ในบทเหล่านั้น บทว่า อตฺถํ ปเลติ
คือถึงการตั้งอยู่ไม่ได้
บทว่า น อุเปติ สงฺขํ ไม่ถึงการนับ
คือพูดไม่ได้ว่า ไปสู่ทิศโน้น
บทว่า เอวํ มุนิ นามกายา วิมุตฺโต
มุนี พ้นแล้วจากนามกายฉันนั้น คือพระเสกขมุนีก็ฉันนั้น
เกิดขึ้นแล้วในอากิญจัญญายตนภพนั้น พ้นจากรูปกายในกาลก่อนตามปรกติแล้วยังมรรคที่ ๔
ให้เกิดขึ้นในภพนั้น จึงพ้นแล้ว แม้จากนามกายอีก เพราะกำหนดรู้นามกาย
[ในฉบับมหา-จุฬาฯ และพระไตรปิฎกคอมฯ เป็น ธมฺมกายสฺส แต่มีเชิงอรรถให้ไว้ว่า
นามกายสฺส ทั้ง ๒ ฉบับ]
เป็นพระขีณาสพผู้อุภโตภาควิมุติ ย่อมเข้าถึงความตั้งอยู่ไม่ได้ คือปรินิพพานด้วยอนุปาทาปรินิพพาน ย่อมไม่เข้าถึงการนับว่าเป็นกษัตริย์ ดังนี้เป็นต้นฉันนั้น
เป็นพระขีณาสพผู้อุภโตภาควิมุติ ย่อมเข้าถึงความตั้งอยู่ไม่ได้ คือปรินิพพานด้วยอนุปาทาปรินิพพาน ย่อมไม่เข้าถึงการนับว่าเป็นกษัตริย์ ดังนี้เป็นต้นฉันนั้น
(ขุ.สุ.อรรถกถาอุปสีวสูตร เล่ม ๔๗
หน้า ๙๒๒) [ดูอรรถกถา
๒๕]
๑๕.ปรมตฺถทีปนิยา นาม
ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถาย วิมานวตฺถุวณฺณนา (รชฺชุมาลาวิมานวณฺณนา) ฉบับมหาจุฬาฯ ข้อ ๘๓๙
หน้า ๒๔๖
(วิมาน.อ.ปรมตฺถทีปนี
รชฺชุมาลาวิมานวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๒๔๖)
[๘๓๙] ปาสาทิกนฺติ ปสาทาวหํ
ทฺวตฺตึสมหาปุริสลกฺขณอสีตฺยานุพฺยญฺชนพฺยามปฺปภาเกตุมาลาลงฺกตาย สมนฺตปาสาทิกาย
อตฺตโน สรีรโสภาสมฺปตฺติยา รูปากายทสฺสนพฺยาวฏสฺส ชนสฺส สาธุภาวโต ปสาทสํวฑฺฒนนฺติ
อตฺโถ.
ปสาทนียนฺติ
ทสพลจตุเวสารชฺชฉอสาธารณญาณอฏฺฐารส อาเวณิกพุทฺธธมฺมปฺปภุติอปริมาณ
คุณสมนฺนาคตาย ธมฺมกายสมฺปตฺติยา สริกฺขกชนสฺส ปสีทิตพฺพยุตฺตํ ปาสาทิกนฺติ อตฺโถ..
คุณสมนฺนาคตาย ธมฺมกายสมฺปตฺติยา สริกฺขกชนสฺส ปสีทิตพฺพยุตฺตํ ปาสาทิกนฺติ อตฺโถ..
[คล้ายคลึงกับ อุทาน.อ.ปรมตฺถทีปนี
ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๙๐ (อรรถกถาพาหิยสูตร)
มีแตกต่างกันบ้าง เล็กน้อย]
มีแตกต่างกันบ้าง เล็กน้อย]
บทว่า ปาสาทิกํ แปลว่า นำมาซึ่งความเลื่อมใส
อธิบายว่า เป็นผู้ทำความเลื่อมใสให้เจริญยิ่งขึ้น
เพราะความถึงพร้อมด้วยความงามแห่งพระสรีระของพระองค์อันประดับประดาด้วยพระมหาปุริสลักษณะ
๓๒ พระอนุพยัญชนะ ๘๐ พระรัศมีข้างละวา และพระเกตุมาลาที่ก่อให้เกิดความเลื่อมใสทั่วไป
เป็นของให้สำเร็จประโยชน์สำหรับชนผู้ขวนขวายจะดูพระรูปกาย
บทว่า ปาสาทนียํ
คือทรงประกอบด้วยพระธรรมกายสมบัติอันพรั่งพร้อมด้วยพระคุณ อันหาประมาณมิได้
คือทศพลญาณ จตุเวสารัชชญาณ อสาธารณญาณ ๖ และเป็นแดนเกิดแห่งพระพุทธธรรมอันประเสริฐ
๑๘ ประการที่ชนผู้เห็นสมจะพึงเลื่อมใส อธิบายว่า เป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใส
(ขุ.วิ.อรรถกถารัชชุมาลาวิมาน เล่ม
๔๘ หน้า ๔๑๒)
[ข้อความคล้ายคลึงกับ
ขุ.อุ.อรรถกถาพาหิยสูตร เล่ม ๔๔ หน้า ๑๔๒]
๑๖.ปรมตฺถทีปนิยา นาม ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถาย เถรคาถาวณฺณนา
(กงฺขาเรวตเถรคาถาวณฺณนา) ปญฺจโม ภาโค
ฉบับมหาจุฬาฯ ข้อ ๓ หน้า ๕๑
(เถร.อ.ปรมตฺถทีปนี
กงฺขาเรวตเถรคาถาวณฺณนา (ปญฺจโม ภาโค) ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๕๑)
อปโร นโย:- ยถา อคฺคิ นิสีเถ
รตฺติภาเค ปชฺชลิโต ปฏุตรชาโล สมุชฺชโล อุจฺจาสเน ฐิตานํ โอภาสทานมตฺเตน อนฺธการํ
วิธมิตฺวา สมวิสมํ วิภาเวนฺโต อาโลกทโท
โหติ, อจฺจาสนฺเน ปน ฐิตานํ ตํ สุปากฏํ
กโรนฺโต จกฺขุกิจฺจกรณโต จกฺขุทโท นาม โหติ, เอวเมว
ตถาคตา อตฺตโน ธมฺมกายสฺส ทูเร ฐิตานํ
อกตาธิการานํ ปญฺญาปชฺโชเตน โมหนฺธการํ วิธมิตฺวา กายสมกายวิสมาทิสมวิสมํ
วิภาเวนฺโต อาโลกทา ภวนฺติ อาสนฺเน
ฐิตานํ ปน กตาธิการานํ ธมฺมจกฺขุํ อุปฺปาเทนฺโต จกฺขุททา ภวนฺติ
อีกนัยหนึ่ง ไฟที่รุ่งเรือง
คือมีแสงสว่างจ้า ลุกโชติช่วง ในยามพลบค่ำ คือยามราตรี ย่อมกำจัดความมืด
ให้แสงสว่าง มองเห็น ที่เสมอและไม่เสมอได้ชัดเจน แก่ผู้ที่อยู่บนที่สูง
แต่สำหรับผู้ที่อยู่ในที่ต่ำ เมื่อกระทำ แสงสว่างนั้นให้ปรากฏดีแล้ว ชื่อว่า ย่อมให้ซึ่งดวงตา
เพราะกระทำกิจ คือการเห็น ฉันใด พระตถาคตเจ้า ทั้งหลายก็ฉันนั้นเหมือนกัน
เมื่อทรงกำจัดความมืดคือโมหะ แก่ผู้ที่ตั้งอยู่ในที่ไกลจาก ธรรมกายของพระองค์
คือผู้ที่มีอธิการยังไม่ได้กระทำไว้ ด้วยแสงสว่าง คือปัญญา
แล้วทรงยังความเสมอและไม่เสมอ มีความเสมอทางกาย และความไม่เสมอทางกายเป็นต้น
ให้แจ่มแจ้ง ชื่อว่าย่อมให้แสงสว่าง แต่สำหรับผู้ที่อยู่ในที่ใกล้
เมื่อมอบธรรมจักษุให้แก่ผู้ที่มีอธิการอันกระทำแล้ว ชื่อว่าย่อมให้ซึ่งดวงตา
(ขุ.เถร.อรรถกถากังขาเรวตเถรคาถา
เล่ม ๕๐ หน้า ๗๐)
๑๗.ปรมตฺถทีปนิยา นาม
ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถาย เถรคาถาวณฺณนา
ปญฺจโม ภาโค (สิริวฑฒฺเถรคาถาวณฺณนา) ฉบับมหาจุฬาฯ ข้อ ๔๑ หน้า ๑๖๗
(เถร.อ.ปรมตฺถทีปนี
สิริวฑฺฒเถรคาถาวณฺณนา (ปญฺจโม ภาโค) ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๑๖๗)
ปุตฺโต อปฺปฏิมสฺส ตาทิโนติ
สีลกฺขนฺธาธิธมฺมกายสมฺปตฺติยา
รูปกายสมฺปตฺติยา จ อนุปมสฺส อุปมารหิตสฺส อิฏฺฐานิฏฐาทีสุ
ตาทิลกฺขณสมฺปตฺติยา ตาทิโน พุทฺธสฺส ภควโต โอรสปุตฺโต. ปุตฺตวจเนเนว เจตฺถ เถเรน สตฺถุ อนุชาตภาวทีปเนน อญฺญา พฺยากตาติ
เวทิตพฺพํ.
บทว่า ปุตฺโต อปฺปฏิมสฺส ตาทิโน ความว่า
เป็นบุตรผู้เกิดแต่พระ-อุระของพระผู้มีพระภาคเจ้า
ผู้ไม่มีที่เปรียบ คือเว้นจากข้อเปรียบเทียบ ด้วยความถึงพร้อมแห่งธรรมกาย มีกองแห่งศีลเป็นต้น
และด้วยความถึงพร้อมแห่งรูปกาย ชื่อว่าผู้คงที่ เพราะถึงพร้อมด้วยลักษณะของผู้คงที่ พึงทราบความว่า ก็ด้วยคำว่า ปุตฺตศัพท์ ในคาถานี้นั่นแล ชื่อว่าเป็นอันพระเถระพยากรณ์พระอรหัตผลแล้ว เพราะแสดงถึงความที่ตนเป็นผู้เกิดตามพระบรมศาสดา
ผู้ไม่มีที่เปรียบ คือเว้นจากข้อเปรียบเทียบ ด้วยความถึงพร้อมแห่งธรรมกาย มีกองแห่งศีลเป็นต้น
และด้วยความถึงพร้อมแห่งรูปกาย ชื่อว่าผู้คงที่ เพราะถึงพร้อมด้วยลักษณะของผู้คงที่ พึงทราบความว่า ก็ด้วยคำว่า ปุตฺตศัพท์ ในคาถานี้นั่นแล ชื่อว่าเป็นอันพระเถระพยากรณ์พระอรหัตผลแล้ว เพราะแสดงถึงความที่ตนเป็นผู้เกิดตามพระบรมศาสดา
(ขุ.เถร.อรรถกถาสิริวัฑฒเถรคาถา เล่ม
๕๐ หน้า ๒๓๗)
๑๘.ปรมตฺถทีปนิยา นาม
ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถาย เถรคาถาวณฺณนา
ปญฺจโม ภาโค (นาคิตฺเถรคาถาวณฺณนา) ฉบับมหาจุฬาฯ ข้อ ๘๕ (๒๒๓) หน้า ๒๘๕
(เถร.อ.ปรมตฺถทีปนี นาคิตฺเถรคาถาวณฺณนา
(ปญฺจโม ภาโค) ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๒๘๕)
วิสาลมาเฬ อาสีโน อทฺทสํ โลกนายกํ
ขีณาสวํ พลปฺปตฺตํ
ภิกฺขุสํฆปุรกฺขตํ
สตสหสฺสา เตวิชฺชา ฉฬภิญฺญา มหิทฺธิกา
ปริวาเรนฺติ
สมฺพุทฺธํ โก ทิสฺวา
นปฺปสีทติ
ญาเณ อุปนิธา ยสฺส น วิชฺชติ สเทวเก
อนนฺตาณํ สมฺพุทฺธํ โก ทิสฺวา นปฺปสีทติ
ธมฺมกายญฺจ ทีเปนฺตํ เกวลํ รตนากรํ
วิโกเปตุํ น สกฺโกนฺติ โก ทิสฺวา นปฺปสีทติ
เรานั่งอยู่ในโรงอันกว้างใหญ่
ได้เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงพระนามว่า ปทุมุตตระ ผู้เป็นนายกของโลก
ผู้มีอาสวะสิ้นแล้ว ผู้บรรลุพลธรรม แวดล้อมด้วยภิกษุสงฆ์ ภิกษุสงฆ์ประมาณหนึ่งแสน
ผู้บรรลุ วิชชา ๓ ได้อภิญญา ๖
มีฤทธิ์มาก แวดล้อมพระพุทธเจ้า ใครเล่าเห็นแล้วจะไม่เลื่อมใส
ในมนุษยโลกพร้อมทั้งเทวโลก ไม่มีอะไรเปรียบ ในพระญาณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์ใด
ใครได้เห็นพระ- สัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์นั้น ผู้มีพระญาณ ไม่สิ้นสุดแล้ว จะไม่เลื่อมใสเล่า ชนทั้งหลายไม่สามารถเพื่อกำจัดพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์ใด ผู้ทรงแสดงธรรมกาย และผู้เป็นบ่อเกิดแห่งพระรัตนตรัยอย่างเดียวได้ ใครเล่าเห็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์นั้นแล้วจะไม่เลื่อมใส
ใครได้เห็นพระ- สัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์นั้น ผู้มีพระญาณ ไม่สิ้นสุดแล้ว จะไม่เลื่อมใสเล่า ชนทั้งหลายไม่สามารถเพื่อกำจัดพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์ใด ผู้ทรงแสดงธรรมกาย และผู้เป็นบ่อเกิดแห่งพระรัตนตรัยอย่างเดียวได้ ใครเล่าเห็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์นั้นแล้วจะไม่เลื่อมใส
(ขุ.เถร.อรรถกถานาคิตเถรคาถา เล่ม ๕๐
หน้า ๔๑๓)
๑๙.ปรมตฺถทีปนิยา นาม ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถาย เถรคาถาวณฺณนา ปญฺจโม
ภาโค (เมตฺตชิตเถรคาถาวณฺณนา) ฉบับมหาจุฬาฯ ข้อ ๙๔ หน้า ๓๐๔
(เถร.อ.ปรมตฺถทีปนี
เมตฺตชิตเถรคาถาวณฺณนา (ปญฺจโม ภาโค) ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๓๐๔)
อรหตฺตํ ปน ปตฺวา สตฺถารํ โถเมนฺโต:-
[๙๔] นโม หิ ตสฺส ภควโต สกฺยปุตฺตสฺส สิรีมโต
เตนายํ
อคฺคปฺปตฺเตน อคฺคธมฺโม
สุเทสิโต ติ
คาถํ อภาสิ.
ตตฺถ นโมติ นมกาโร. หีติ
นิปาตมตฺตํ. ตสฺสาติ โย โส ภควา สมตึสปารมิโย ปูเรตฺวา สพฺพกิเลเส ภญฺชิตฺวา
อนุตฺตรํ สมฺมาสมฺโพธึ อภิสมฺพุทฺโธ,
สกฺยราชสฺส ปุตฺโตติ สกฺยปุตฺโต. อนญฺญสาธารณาย ปุญฺญสมฺปตฺติยา จ
สมฺภาวิโต อุตฺตมาย รูปกายสิริยา ธมฺมกายสิริยา จ สมนฺนาคตตฺตา สิรีมา, ตสฺส ภควโต สกฺยปุตฺตสฺส สิรีมโต นโม อตฺถุ, ตํ
นมามีติ อตฺโถ.
ก็พระเถระครั้นบรรลุพระอรหัตแล้ว
เมื่อจะชื่นชมพระบรมศาสดา ได้กล่าวคาถาว่า
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคศากยบุตร
ผู้มีพระสิริพระองค์นั้น พระองค์ผู้ถึงแล้วซึ่งธรรมอันสูงสุด ได้ทรงแสดงอัครธรรม
นี้ไว้ด้วยดี ดังนี้
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า นโม ได้แก่
ทำการนอบน้อม
บทว่า หิ เป็นเพียงนิบาต
บทว่า ตสฺส ความว่า
พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นใด ทรงบำเพ็ญบารมีมาครบ ๓๐ ทัศ
ทรงหักกิเลส ทั้งปวง แล้วตรัสรู้ พระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ ชื่อว่าเป็นศากยบุตร เพราะเป็นบุตรของพระเจ้าศากยะ ทรงเจริญแล้วด้วยบุญสมบัติ อันไม่สาธารณ์ทั่วไป แก่สัตว์อื่น และชื่อว่า ผู้มีพระสิริ เพราะประกอบไปด้วยสิริ คือรูปกาย และสิริคือ ธรรมกายอันสูงสุด ขอความนอบน้อมจงมีแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้เป็นศากยบุตรผู้มี พระสิริพระองค์นั้น ความว่า ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น
ทรงหักกิเลส ทั้งปวง แล้วตรัสรู้ พระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ ชื่อว่าเป็นศากยบุตร เพราะเป็นบุตรของพระเจ้าศากยะ ทรงเจริญแล้วด้วยบุญสมบัติ อันไม่สาธารณ์ทั่วไป แก่สัตว์อื่น และชื่อว่า ผู้มีพระสิริ เพราะประกอบไปด้วยสิริ คือรูปกาย และสิริคือ ธรรมกายอันสูงสุด ขอความนอบน้อมจงมีแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้เป็นศากยบุตรผู้มี พระสิริพระองค์นั้น ความว่า ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น
(ขุ.เถร.อรรถกถาเมตตชิตเถรคาถา เล่ม
๕๐ หน้า ๔๔๑)
๒๐.ปรมตฺถทีปนิยา นาม
ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถาย เถรคาถาวณฺณนา (ทุติโย ภาโค) (เสนกตฺเถรคาถาวณฺณนา)
ฉบับมหาจุฬาฯ ข้อ ๒๙๐ หน้า ๑๙
(เถร.อ.ปรมตฺถทีปนี เสนกตฺเถรคาถาวณฺณนา
(ทุติโย ภาโค) ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๑๙)
พาตฺตึสวรมหาปุริสลกฺขณอสีติอนุพฺยญฺชนาทิปฏิมณฺฑิตรูปกายตาย
ทสพลจตุเวสารชฺชาทิคุณปฏิมณฺฑิตธมฺมกายตาย จ สเทวเกน โลเกน อปริเมยฺยทสฺสนตาย อสทิสทสฺสนตาย จ
อตุลทสฺสนํ.
ชื่อว่า
ผู้ทรงมีการเห็นหาผู้เปรียบปานมิได้ เพราะมีพระรูปกายอันประดับด้วยมหาปุริสลักษณะ
อันประเสริฐ ๓๒ และอนุพยัญชนะ ๘๐ เป็นต้น และเพราะมีพระธรรมกายอันประดับด้วยคุณ
มีทศพลญาณและจตุเวสารัชญาณ เป็นต้น และมีทัสสนะอันชาวโลกพร้อมทั้งเทวโลก จะพึงประมาณมิได้ และเพราะมีทัสสนะหาผู้เสมอ เหมือนมิได้
มีทศพลญาณและจตุเวสารัชญาณ เป็นต้น และมีทัสสนะอันชาวโลกพร้อมทั้งเทวโลก จะพึงประมาณมิได้ และเพราะมีทัสสนะหาผู้เสมอ เหมือนมิได้
(ขุ.เถร.อรรถกถาเสนกเถรคาถา เล่ม ๕๒
หน้า ๓๓-๓๔) ความว่า
๒๑.ปรมตฺถทีปนิยา นาม ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถาย เถรคาถาวณฺณนา (ทุติโย ภาโค) (สรภงฺคเถรคาถาวณฺณนา) ฉบับมหาจุฬาฯ
ข้อ ๔๙๓ หน้า ๑๕๘
(เถร.อ.ปรมตฺถทีปนี
สรภงฺคเถรคาถาวณฺณนา (ทุติโย ภาโค) ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๑๕๘)
ธมฺมภูเตหีติ ธมฺมกายตาย ธมฺมสภาเวหิ
นวโลกุตฺตรธมฺมโต วา ภูเตหิ ชาเตหิ ธมฺมํ วา ปตฺเตหิ.
บทว่า ธมฺมภูเตหิ ได้แก่
มีธรรมเป็นสภาวะ เพราะเป็นธรรมกาย คือเกิดจากโลกุตตรธรรม ๙
หรือบรรลุธรรม
หรือบรรลุธรรม
(ขุ.เถร.อรรถกถาสรภังคเถรคาถา เล่ม
๕๒ หน้า ๒๗๔-๒๗๕)
๒๒.ปรมตฺถทีปนิยา นาม ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถาย เถรีคาถาวณฺณนา
(เชนตาเถรีคาถา วณฺณนา) ฉบับมหาจุฬาฯ ข้อ
๒๒ หน้า ๓๕
(เถรี.อ.ปรมตฺถทีปนี
เชนฺตาเถรีคาถาวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๓๕)
ทิฏฺโฐ หิ เม โส ภควาติ หิสทฺโท
เหตุอตฺโถ. ยสฺมา โส ภควา ธมฺมกาโย
สมฺมาสมฺพุทฺโธ อตฺตนา ว อธิคตอริยธมฺมทสฺสเนน ทิฏฺโฐ, ตสฺมา อนฺติโมยํ สมุสฺสโยติ โยชนา.
อริยธมฺมทสฺสเนน หิ พุทฺธา ภควนฺโต อญฺเญ จ อริยา ทิฏฺฐา นาม โหนฺติ, น รูปกายทสฺสนมตฺเตน. ยถาห "โย โข วกฺกลิ ธมฺมํ ปสฺสติ, โส มํ ปสฺสตี ติ [เชิงอรรถ สํ.ข.๑๗/๘๗/๙๖] จ"สุตฺวา จ โข ภิกฺขเว อริยสาวโก อริยานํ
ทสฺสาวี ติ [เชิงอรรถ ม.มู.๑๒/๒๐/๑๒, สํ.ข.๑๗/๑/๓] จ อาทิ.
หิ ศัพท์ในบาทคาถาว่า ทิฏฺโฐ หิ เม
โส ภควา มีความว่า เหตุ ประกอบความว่า
เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น
เป็นธรรมกาย เป็นพระสัมมาสัมพุทธะ
อันข้าพเจ้าเห็นแล้วด้วยการเห็นอริยธรรมที่ตนได้บรรลุแล้ว
ฉะนั้นร่างกายนี้จึงมีในที่สุด
ด้วยว่าพระผู้มีพระภาคผู้พุทธเจ้า และพระอริยะอื่นๆ ย่อมชื่อว่า
ข้าพเจ้าเห็นแล้ว ด้วยการเห็นอริยธรรม ไม่ใช่ด้วยเพียงเห็นรูปกาย
เหมือนอย่างที่ตรัสว่า
ดูก่อนวักกลิ ผู้ใดแลเห็นธรรม
ผู้นั้นย่อมเห็นเรา และว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลายอริยสาวกผู้สดับแล้วเป็นผู้เห็นอริยสัจดังนี้ เป็นต้น
(ขุ.เถรี.อรรถกถาชันตาเถรีคาถา เล่ม
๕๐ หน้า ๔๘-๔๙)
(ขุ.เถรี.อรรถกถาเชนตาเถรีคาถา เล่ม
๕๔ หน้า ๔๘-๔๙)
๒๓.ปรมตฺถทีปนิยา นาม
ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถาย เถรีคาถาวณฺณนา (มหาปชาบดีโคตมีเถรีคาถาวณฺณนา) ฉบับมหาจุฬาฯ
ข้อ ๑๖๒ หน้า ๑๘๕
(เถรี.อ.ปรมตฺถทีปนี
มหาปชาบดีโคตมีเถรีคาถาวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๑๘๕)
[คล้ายคลึงกับ
ขุ.อป.มหาปชาบดีโคตมีเถรีอปทาน ๓๓/๑๕๗/๒๘๔ มีแตกต่างกันบ้างบางคำ]
อหํ สุคต เต มาตา ตฺวํ จ วีร
ปิตา มม
สทฺธมฺมสุขโท นาถ ตยิ ชาตามฺหิ
โคตม.
สํวทฺธิโตยํ สุคต รูปกาโย มยา
ตว
อานนฺทิโย ธมฺมกาโย มม สํวทฺธิโต ตยา.
มุหุตฺตํ ตณฺหาสมณํ ขีรํ ตฺวํ ปายิโต มยา
ตยาหํ สนฺตมจฺจนฺตํ ธมฺมขีรํ หิ ปายิตา.
พนฺธนารกฺขเน มยฺหํ อนโณ ตฺวํ มหามุเน
ปุตฺตกามิตฺถิโย
ยาจํ ลภนฺติ ตาทิสํ สุตํ.
[เป็นข้อความเดียวกับที่กล่าวไว้ใน
ขุ.อป.มหาปชาบดีโคตมีเถรีอปทาน ๓๓/๑๕๗/๒๘๔]
ข้าแต่พระสุคต
หม่อมฉันเป็นพระมารดาของพระองค์
ข้าแต่พระธีรเจ้า
พระองค์เป็นพระบิดาของหม่อมฉัน
ข้าแต่พระโลกนาถ
พระองค์เป็นผู้ประทานความสุขอันเกิดจากพระสัทธรรมให้หม่อมฉัน
ข้าแต่พระโคดม
หม่อมฉันเป็นผู้อันพระองค์ทรงทำให้เกิด
ข้าแต่พระสุคต รูปกายของพระองค์นี้
อันหม่อมฉันทำให้เจริญเติบโต
ธรรมกายอันน่าเพลิดเพลินของหม่อมฉัน
อันพระองค์ก็ทรงทำให้เจริญเติบโตแล้ว
พระองค์อันหม่อมฉันให้ดูดดื่มน้ำนมอันระงับเสียได้ซึ่งความอยากชั่วครู่
ส่วนหม่อมฉัน พระองค์ก็โปรดให้ดูดดื่มน้ำนม คือ ธรรมอันสงบอย่างยิ่งแล้ว
ข้าแต่พระมหามุนี พระองค์ชื่อว่ามิได้ทรงเป็นหนี้หม่อมฉัน
เพราะการรักษาไว้ซึ่งพันธะ อันสตรีทั้งหลาย ผู้อยากได้บุตรวอนขออยู่
ก็ย่อมจะได้บุตรเช่นนั้น
(ขุ.เถรี.อรรถกถามหาปชาบดีโคตมีเถรีคาถา เล่ม ๕๔ หน้า ๒๔๘-๒๔๙)
๒๔.สทฺธมฺมปชฺโชติกาย นาม
ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถาย มหานิทฺ-
เทสวณฺณนา (ติสฺสเมตฺเตยฺยสุตฺตนิทฺเทสวณฺณนา) ฉบับมหาจุฬาฯ ข้อ ๕๐ หน้า
๒๖๓
(มหานิทฺ.อ.สทฺธมฺมปชฺโชติกา
ติสฺสเมตฺเตยฺยสุตฺตนิทฺเทสวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๒๖๓)
ภคฺคราโค ภคฺคโทโส ภคฺคโมโห อนาสโว
ภคฺคสฺส ปาปกา
ธมฺมา ภควา เตน วุจฺจตี ติ.
ภาคฺยวตาย ปนสฺส สตปุญฺญลกฺขณธรสฺส
รูปกายสมฺปตฺติ ทีปิตา โหติ. ภคฺคโทสตาย ธมฺมกายสมฺปตฺติ.
พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงหักราคะ
โทสะ โมหะ ได้แล้ว ทรงหาอาสวะมิได้ ธรรมอันลามกทั้งหลาย พระองค์ก็ทรงหักเสียแล้ว
เหตุนั้นจึงทรงพระนามว่า ภควา
อนึ่ง
สมบัติแห่งรูปกายของพระองค์ผู้ทรงบุญลักษณะตั้งร้อย
เป็นอันท่านแสดงแล้วด้วยความที่พระองค์
ทรงมีภาคยะ
สมบัติแห่งธรรมกายของพระองค์
เป็นอันท่านแสดงแล้วด้วยความที่พระองค์ทรงหักโทสะเสียได้
(ขุ.มหา.อรรถกถาติสสเมตเตยยสุตตนิทเทส
เล่ม ๖๕ หน้า ๗๐๑)
[ข้อความคล้ายคลึงกับ
ขุ.ขุ.อรรถกถามงคลสูตร เล่ม ๓๙ หน้า ๑๔๙]
๒๕.สทฺธมฺมปฺปชฺโชติกาย นาม
ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถาย
จูฬนิทฺเทสวณฺณนา (อุปสีวมาณวสุตฺตนิทฺเทสวณฺณนา) ฉบับมหาจุฬาฯ ข้อ ๔๓ หน้า ๓๑
(จูฬนิทฺ.อ.สทฺธมฺมปฺปชฺโชติกา
อุปสีวมาณวสุตฺตนิทฺเทสวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๓๑)
ตตฺถ อตฺถํ ปเลตีติ อตฺถํ คจฺฉติ. น
อุเปติ สงฺขนฺติ"อสุกํ นาม ทิสํ คโต ติ โวหารํ น คจฺฉติ. เอวํ มุนี นามกายา
วิมุตฺโตติ เอวํ ตตฺถ อุปฺปนฺโน เสกฺขมุนิ ปกติยา ปุพฺเพว รูปกายา วิมุตฺโต, ตตฺถ จตุตฺถมคฺคํ นิพฺพตฺเตตฺวา นามกายสฺส [ธมฺมกายสฺส
ฉบับพม่า, อ้างไว้ที่เชิงอรรถ] ปริญฺญาตตฺตา ปุน นามกายาปิ วิมุตฺโต
อุภโตภาควิมุตฺโต ขีณาสโว หุตฺวา อนุปาทานิพฺพานสงฺขาตํ อตฺถํ ปเลติ น อุเปติ
สงฺขํ"ขตฺติโย วา พฺราหฺมโณ วา
ติ เอวมาทิกํ
ในบทเหล่านั้น บทว่า อตฺถํ ปเลติ
ย่อมถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้ คือถึงความไม่มี. บทว่า น อุเปติ สงฺขยํ
ไม่เข้าถึงความนับ คือไม่ถึงการพูดไปว่า ไปแล้วสู่ทิศโน้น. บทว่า เอวํ มุนิ
นามกายา วิมุตฺโต มุนีพ้นแล้วจาก นามกาย ฉันนั้น คือพระเสกขมุนีเกิดแล้วในที่นั้น
ตามปกติเป็นผู้พ้นแล้วจากรูปกายมาก่อน ยังจตุตถมรรค (อรหัตมรรค) ให้เกิดในที่นั้นแล้ว
พ้นแม้จากนามกายอีก [ธรรมกาย แปลตามฉบับพม่า]
เพราะกำหนดรู้ นามกายเป็นพระขีณาสพผู้อุภโตภาควิมุตติ (พ้นทั้งสองส่วน) ย่อมถึงการตั้งอยู่ไม่ได้ ย่อมไม่ถึงการนับว่าเป็น กษัตริย์หรือเป็นพราหมณ์
เพราะกำหนดรู้ นามกายเป็นพระขีณาสพผู้อุภโตภาควิมุตติ (พ้นทั้งสองส่วน) ย่อมถึงการตั้งอยู่ไม่ได้ ย่อมไม่ถึงการนับว่าเป็น กษัตริย์หรือเป็นพราหมณ์
(ขุ.จู.อรรถกถาอุปสีวมาณวกปัญหานิทเทส เล่ม ๖๗ หน้า ๒๐๘)
๒๖.วิสุทฺธชนวิลาสินิยา นาม
ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถาย อปทานวณฺณนา (ปฐโม ภาโค) (ปจฺเจกพุทฺธาปทานวณฺณนา)
ฉบับมหาจุฬาฯ ข้อ ๑๓๔ หน้า ๒๔๕
(อป.อ.วิสุทฺธชนวิลาสินี
ปจฺเจกพุทฺธาปทานวณฺณนา ฉบับมหา-จุฬาฯ หน้า ๒๔๕)
[๑๓๔] กึ ภูตา? มหนฺตธมฺมา ปูริตมหาสมฺภารา
พหุธมฺมกายา อเนกธมฺมสภาวสรีรา. ปุนปิ กึ ภูตา? จิตฺติสฺสรา
จิตฺตคติกา ฌานสมฺปนฺนาติ อตฺโถ
ถามว่า ท่านเป็นอย่างไร? ตอบว่า ท่านเป็นผู้มีธรรมยิ่งใหญ่
คือมีบุญสมภารใหญ่อันได้บำเพ็ญมาแล้ว มีธรรมกายมากคือมีสภาวธรรมมิใช่น้อยเป็นร่างกาย
ถามว่า ท่านเป็นอย่างไรอีก? ตอบว่า ท่านมีจิตเป็นอิสระ
คือเป็นไปในคติของจิต อธิบายว่า
ถึงพร้อมด้วยฌาน
ถึงพร้อมด้วยฌาน
(ขุ.อป.อรรถกถาปัจเจกพุทธาปทาน เล่ม
๗๐ หน้า ๓๙๓)
๒๗.มธุรตฺถวิลาสินิยา นาม
ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถาย พุทฺธวํสวณฺณนา (รตนจงฺกมนกณฺฑวณฺณนา) ฉบับมหาจุฬาฯ ข้อ ๓๘
หน้า ๗๔
(พุทฺธ.อ.มธุรตฺถวิลาสินี
รตนจงฺกมนกณฺฑวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๗๔)
อิทานิ ภควโต
รูปกายธมฺมกายสมฺปตฺติทสฺสนตฺถํ:-
[๓๘]"รูเป สีเล สมาธิมฺหิ ปญฺญาย ย จ อสาทิโส
วิมุตฺติยา อสมสโม ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตเน ติ
บัดนี้
เพื่อแสดงสมบัติคือรูปกายและธรรมกายของพระผู้มีพระภาคเจ้า
ท่านพระสังคีติกาจารย์
ทั้งหลาย จึงกล่าวคาถานี้ว่า
ทั้งหลาย จึงกล่าวคาถานี้ว่า
พระผู้มีพระภาคเจ้า
ไม่มีผู้เสมอเหมือนในพระรูป ในศีล สมาธิ ปัญญาและวิมุตติ
ทรงเสมอกับพระพุทธเจ้าที่ไม่มีใครเสมอในการประกาศพระธรรมจักร
ทรงเสมอกับพระพุทธเจ้าที่ไม่มีใครเสมอในการประกาศพระธรรมจักร
(ขุ.พุทฺธ.อัพภันตรนิทาน
พรรณนารัตนจังกมนกัณฑ์ เล่ม ๗๓ หน้า ๑๒๒)
๒๘.ปรมตฺถทีปนิยา นาม
ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถาย จริยาปิฏกวณฺณนา (ปกิณฺณกกถา)
ฉบับมหาจุฬาฯ ข้อ ๓๕๖ หน้า ๓๒๔
ฉบับมหาจุฬาฯ ข้อ ๓๕๖ หน้า ๓๒๔
(จริยา.อ.ปรมตฺถทีปนี ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า
๓๒๔) (ปกิณณกกถา)
อถ วา ปรํ สตฺตํ อตฺตนิ มวติ พนฺธติ
คุณวิเสสโยเคน, ปรํ
วา อธิกตรํ มชฺชติ สุชฺฌติ สงฺกิเลสมลโตฐ
ปรํ วา เสฏฺฐํ นิพฺพานํ วิเสสน มยติ คจฺฉติ, ปรํ วา โลกํ
ปมาณภูเตน ญาเณนวิเสเสน อิธ โลกํ วิย มุนาติ ปริจฺฉินฺทติ. ปรํ วา อติวิย
สีลาทิคุณคณํ อตฺตโน สนฺตาเน มิโนติ ปกฺขิปติ, ปรํ วา
อตฺตภูตโต ธมฺมกายโต อญฺญํ ปฏิปกฺขํ วา ตทนตฺถกรํ กิเลสโจรคณํ มินาติ หึสตีติ ปรโม,
มหาสตฺโต.
อีกอย่างหนึ่งบารมีย่อมผูกสัตว์อื่นไว้ในตนด้วยการประกอบคุณวิเศษ
หรือบารมีย่อมขัดเกลาสัตว์อื่นให้หมดจดจากมลทินคือกิเลส
หรือบารมีย่อมถึงนิพพานอันประเสริฐที่สุดด้วยคุณวิเศษ หรือบารมีย่อมกำหนดรู้
โลกอื่นดุจรู้โลกนี้ด้วยคุณวิเศษคือญาณอันเป็นการกำหนดแล้ว
หรือบารมีย่อมตักตวงคุณมีศีลเป็นต้นอื่นไว้ในสันดานของตนเป็นอย่างยิ่ง
หรือบารมีย่อมทำลายปฏิปักษ์อื่นจากธรรมกายอันเป็นอัตตา หรือหมู่โจรคือกิเลส
อันทำความพินาศแก่ตนนั้น เพราะเหตุนั้นจึงชื่อว่า
ปรมะ สัตว์ใดประกอบด้วยปรมะดังกล่าวมานี้ สัตว์นั้นชื่อว่ามหาสัตว์
ปรมะ สัตว์ใดประกอบด้วยปรมะดังกล่าวมานี้ สัตว์นั้นชื่อว่ามหาสัตว์
(ขุ.จริยา.อรรถกถาปกิณณกถา เล่ม ๗๔
หน้า๕๗๑)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น